ท่าน ติช นัท ฮันท์ พูดเรื่องนี้ไว้ในหนังสือ"ขอบคุ ณสรรพสิ่ง"
ปาฏิหาริย์ไม่ใช่การเดินบนน้ำ หรือบินอยู่บนอากาศ
แต่ปาฏิหาริย์ คือ การเดินอยู่บนผืนดินและมีความสุขในทุกย่างก้าว'ชีวิตเราเต็มไปด้วยเรื่อง 'ธรรมดา'
เช่น ตื่นมาอาบน้ำ แปรงฟัน ขับรถไปทำงาน
กินอาหารเที่ยงกับเพื่อนในที่เดิมๆ
ตอนเย็นกลับมาก็เห็นหน้าภรรยาหรือสามีคนเดิมๆ
ใส่ชุดธรรมดาๆ...หน้าตาเราหรือก็ธรรมดาๆ...
เราส่วนใหญ่แล้วก็เป็นคนธรรมดาๆ มีชีวิตธรรมดาๆ กันทั้งนั้น แต่ถ้าความธรรมดานี้หมดไปล่ะ?
เช่น อยู่ดีๆ ลูกเราเกิดเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว
หรือสามีเราถูกรถชนตาย หรือเราถูกไล่ออกจากงานที่เราเบื่อแสนเบื่อ...
เรื่องก็จะ 'ไม่ธรรมดา' ไปในทันที
และในเวลานั้นเอง เราจะหวนมา คิดเสียดายความ 'ธรรมดา' จนใจแทบจะขาด...
ให้เรารีบชื่นชมกับความ 'ธรรมดา' ที่เรามี
และใช้ชีวิตประหนึ่งว่า สิ่งนั้นคือสิ่งมหัศจรรย์ของจักรวาล
เพราะสิ่งธรรมดาๆ แท้จริงแล้วคือ สิ่งที่พิเศษที่สุดแล้ว
แต่ปาฏิหาริย์ คือ การเดินอยู่บนผืนดินและมีความสุขในทุกย่างก้าว'ชีวิตเราเต็มไปด้วยเรื่อง 'ธรรมดา'
เช่น ตื่นมาอาบน้ำ แปรงฟัน ขับรถไปทำงาน
กินอาหารเที่ยงกับเพื่อนในที่เดิมๆ
ตอนเย็นกลับมาก็เห็นหน้าภรรยาหรือสามีคนเดิมๆ
ใส่ชุดธรรมดาๆ...หน้าตาเราหรือก็ธรรมดาๆ...
เราส่วนใหญ่แล้วก็เป็นคนธรรมดาๆ มีชีวิตธรรมดาๆ กันทั้งนั้น แต่ถ้าความธรรมดานี้หมดไปล่ะ?
เช่น อยู่ดีๆ ลูกเราเกิดเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว
หรือสามีเราถูกรถชนตาย หรือเราถูกไล่ออกจากงานที่เราเบื่อแสนเบื่อ...
เรื่องก็จะ 'ไม่ธรรมดา' ไปในทันที
และในเวลานั้นเอง เราจะหวนมา คิดเสียดายความ 'ธรรมดา' จนใจแทบจะขาด...
ให้เรารีบชื่นชมกับความ 'ธรรมดา' ที่เรามี
และใช้ชีวิตประหนึ่งว่า สิ่งนั้นคือสิ่งมหัศจรรย์ของจักรวาล
เพราะสิ่งธรรมดาๆ แท้จริงแล้วคือ สิ่งที่พิเศษที่สุดแล้ว
ในปี พ.ศ. 2485 เมื่ออายุได้ 16 ปี ท่านได้บรรพชา เป็นสามเณรที่วัดตื่อฮิ้ว (Tu Hieu)
วิถีชีวิต ในวัดเซนแห่งนี้ เป็นรากฐานอันสำคัญ ต่อชีวิตนักบวชของท่าน
สามเณรต้องเรียนรู้ การมีชีวิตอยู่ ในปัจจุบันขณะ ในทุกการกระทำ
อาจารย์ได้มอบหนังสือเล่มเล็กๆ กำชับให้ศึกษาหนังสือนั้น จนกว่าจะเข้าใจ
"การนำสารัตถะแห่งพระวินัย มาประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจำวัน" เป็นตอนแรกของคู่มือเล่มเล็กนั้น
กล่าวถึงอากัปกิริยาของพระฝึกหัด จะต้องเกิดขึ้นพร้อมไปกับ สัมมาสติ หรือการกำหนดรู้ในปัจจุบัน
ปี พ.ศ. 2492 ติช นัท ฮันห์ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ
เมื่ออายุ 23 ท่านได้เดินทางไปไซ่ง่อน เพื่อช่วยฟื้นฟูพุทธศาสนา และเขียนบทความ
ซึ่งถูกต่อต้านอย่างมาก จากผู้นำองค์กรชาวพุทธ และจากรัฐบาล
ในปี พ.ศ. 2505 เมื่อท่านได้รับการเสนอทุนจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน
เพื่อ ศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ จึงเดินทางไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา
จากนั้น 1 ปี ท่านได้รับทุนจาก มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
แต่ท่านตัดสินใจเดินทางกลับเวียดนาม เพื่อกลับมาทำงานด้านความ ร่วมมือ
ระหว่างพุทธมหายานและหินยานในประเทศ
และตั้งรร.ยุวชนรับใช้สังคม เพื่อรักษาสังคม ที่เสียหายจากสงคราม
สานต่อแนวคิดเรื่องพุทธศาสนาที่ผูกสัมพันธ์กับสังคม
และพัฒนาวงการ สงฆ์ ด้วยการสอนและเขียน ในสถาบันพุทธศาสนาขั้นสูง
เป็นการบ่งบอกถึงแนวคิดของท่านว่า การกระทำและปัญญา ต้องก้าวไปด้วยกัน
(action and wisdom must go together) และจัดตั้ง คณะเทียบหิน ในปี 2509
ท่านตระหนักว่า ต้องมีการเปลี่ยนแปลง วิธีการการต่อสู้เพื่อสันติภาพ
เพื่อแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ คือ หยุดการสนับสนุนสงครามและมุ่งเน้นสันติภาพ
โดยปลุกจิตสำนึกต่อคนทั่วโลก
จนกระทั่ง มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ ( Martin Luther King, Jr.)
เสนอนามท่านติช นัท ฮันห์ เพื่อรับรางวัล โนเบลเพื่อสันติภาพ
การทำงานเช่นนี้ ทำให้รัฐบาลเวียดนามใต้ ปฏิเสธการกลับประเทศของท่าน
จนแม้ รวมประเทศแล้วก็ตาม
ท่านจึงลี้ภัยอย่างเป็นทางการในประเทศฝรั่งเศส
โดยสอน ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาเวียดนาม ที่มหาวิทยาลัย
และสร้างอาศรมแห่งหนึ่งนอกเมืองปารีส
เพื่อเขียนหนังสือ และปลูกพืชผักสมุนไพร
ซึ่งท่านติดต่อลับๆ กับพระภิกษุที่ถูกจำคุกในเวียดนาม
เพราะไม่เห็นด้วย กับรัฐบาลคอมมิวนิสต์
ระหว่างนั้นท่านยังคงทำงาน เพื่อสันติภาพและผู้ลี้ภัย
จากประสบการณ์ ของท่าน ที่ได้พบเห็นชะตากรรมของผู้ลี้ภัยด้วยตนเอง
จนสามารถช่วยเหลือ ผู้คนได้อีกมาก ในปี พ.ศ. 2525 เมื่อผู้มาปฏิบัติธรรมที่อาศรมของท่านทวีจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว
ท่านจึงเริ่ม ก่อตั้งชุมชนแห่งใหม่ ทางตะวันตกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส ให้ชื่อว่า หมู่บ้านพลัม (Plum Village)
ซึ่งถือเป็นบ้านของท่านจนทุกวันนี้
ช่วงแรกหมู่บ้านพลัมเป็นแหล่งพักพิงของผู้ลี้ภัย เพื่อปรับตัว ก่อนเข้าสู่สังคมใหม่ในประเทศใหม่
ปัจจุบันหมู่บ้านพลัมได้ต้อนรับผู้คนมากมาย ในการปฏิบัติ สมาธิภาวนา และได้เริ่มมีสมาชิก เป็นนักบวชตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531
ในปี พ.ศ. 2549 มีสมาชิก นักบวชกว่าห้าร้อยคน มาจากยี่สิบกว่าประเทศทั่วโลก
ส่วนใหญ่อยู่ที่หมู่บ้านพลัมในฝรั่งเศส
ที่ Green Mountain Dharma Center รัฐเวอร์มอนต์
และ Deer Park Monastery รัฐแคลิฟอร์เนีย ในสหรัฐอเมริกา
และที่วัดบัทหงา เมืองบ๋าวหลอบ และ วัดตื่อฮิ้ว เมืองเว้ ประเทศเวียดนาม
ในปี พ.ศ. 2548 เมื่อสถานการณ์ทางการเมืองของเวียดนามเข้าสู่ภาวะปกติ
ติช นัท ฮันห์ ได้เดินทางกลับไปเยือนประเทศเวียดนาม บ้านเกิดของท่านอย่างเป็นทางการ
หลังการจากมา เป็นเวลา 39 ปี และได้รับการต้อนรับจากประชาชนชาวเวียดนามอย่างอบอุ่น
ปัจจุบันท่าน ติช นัท ฮันห์ ยังคงพำนักอยู่ที่หมู่บ้านพลัม ประเทศฝรั่งเศส
และยังเดินทาง ไปนำการภาวนาในประเทศต่างๆ ท่านเป็นชาวเวียดนาม ที่เป็นพระมหาเถระ ในพุทธศาสนา
และมีอุดมการณ์แห่งพระโพธิสัตว์อันเป็นพระที่เลื่อมใส แห่งสากลโลก เป็นอย่างยิ่ง
วิถีชีวิต ในวัดเซนแห่งนี้ เป็นรากฐานอันสำคัญ ต่อชีวิตนักบวชของท่าน
สามเณรต้องเรียนรู้ การมีชีวิตอยู่ ในปัจจุบันขณะ ในทุกการกระทำ
อาจารย์ได้มอบหนังสือเล่มเล็กๆ กำชับให้ศึกษาหนังสือนั้น จนกว่าจะเข้าใจ
"การนำสารัตถะแห่งพระวินัย มาประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจำวัน" เป็นตอนแรกของคู่มือเล่มเล็กนั้น
กล่าวถึงอากัปกิริยาของพระฝึกหัด จะต้องเกิดขึ้นพร้อมไปกับ สัมมาสติ หรือการกำหนดรู้ในปัจจุบัน
ปี พ.ศ. 2492 ติช นัท ฮันห์ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ
เมื่ออายุ 23 ท่านได้เดินทางไปไซ่ง่อน เพื่อช่วยฟื้นฟูพุทธศาสนา และเขียนบทความ
ซึ่งถูกต่อต้านอย่างมาก จากผู้นำองค์กรชาวพุทธ และจากรัฐบาล
ในปี พ.ศ. 2505 เมื่อท่านได้รับการเสนอทุนจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน
เพื่อ ศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ จึงเดินทางไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา
จากนั้น 1 ปี ท่านได้รับทุนจาก มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
แต่ท่านตัดสินใจเดินทางกลับเวียดนาม เพื่อกลับมาทำงานด้านความ ร่วมมือ
ระหว่างพุทธมหายานและหินยานในประเทศ
และตั้งรร.ยุวชนรับใช้สังคม เพื่อรักษาสังคม ที่เสียหายจากสงคราม
สานต่อแนวคิดเรื่องพุทธศาสนาที่ผูกสัมพันธ์กับสังคม
และพัฒนาวงการ สงฆ์ ด้วยการสอนและเขียน ในสถาบันพุทธศาสนาขั้นสูง
เป็นการบ่งบอกถึงแนวคิดของท่านว่า การกระทำและปัญญา ต้องก้าวไปด้วยกัน
(action and wisdom must go together) และจัดตั้ง คณะเทียบหิน ในปี 2509
ท่านตระหนักว่า ต้องมีการเปลี่ยนแปลง วิธีการการต่อสู้เพื่อสันติภาพ
เพื่อแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ คือ หยุดการสนับสนุนสงครามและมุ่งเน้นสันติภาพ
โดยปลุกจิตสำนึกต่อคนทั่วโลก
จนกระทั่ง มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ ( Martin Luther King, Jr.)
เสนอนามท่านติช นัท ฮันห์ เพื่อรับรางวัล โนเบลเพื่อสันติภาพ
การทำงานเช่นนี้ ทำให้รัฐบาลเวียดนามใต้ ปฏิเสธการกลับประเทศของท่าน
จนแม้ รวมประเทศแล้วก็ตาม
ท่านจึงลี้ภัยอย่างเป็นทางการในประเทศฝรั่งเศส
โดยสอน ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาเวียดนาม ที่มหาวิทยาลัย
และสร้างอาศรมแห่งหนึ่งนอกเมืองปารีส
เพื่อเขียนหนังสือ และปลูกพืชผักสมุนไพร
ซึ่งท่านติดต่อลับๆ กับพระภิกษุที่ถูกจำคุกในเวียดนาม
เพราะไม่เห็นด้วย กับรัฐบาลคอมมิวนิสต์
ระหว่างนั้นท่านยังคงทำงาน เพื่อสันติภาพและผู้ลี้ภัย
จากประสบการณ์ ของท่าน ที่ได้พบเห็นชะตากรรมของผู้ลี้ภัยด้วยตนเอง
จนสามารถช่วยเหลือ ผู้คนได้อีกมาก ในปี พ.ศ. 2525 เมื่อผู้มาปฏิบัติธรรมที่อาศรมของท่านทวีจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว
ท่านจึงเริ่ม ก่อตั้งชุมชนแห่งใหม่ ทางตะวันตกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส ให้ชื่อว่า หมู่บ้านพลัม (Plum Village)
ซึ่งถือเป็นบ้านของท่านจนทุกวันนี้
ช่วงแรกหมู่บ้านพลัมเป็นแหล่งพักพิงของผู้ลี้ภัย เพื่อปรับตัว ก่อนเข้าสู่สังคมใหม่ในประเทศใหม่
ปัจจุบันหมู่บ้านพลัมได้ต้อนรับผู้คนมากมาย ในการปฏิบัติ สมาธิภาวนา และได้เริ่มมีสมาชิก เป็นนักบวชตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531
ในปี พ.ศ. 2549 มีสมาชิก นักบวชกว่าห้าร้อยคน มาจากยี่สิบกว่าประเทศทั่วโลก
ส่วนใหญ่อยู่ที่หมู่บ้านพลัมในฝรั่งเศส
ที่ Green Mountain Dharma Center รัฐเวอร์มอนต์
และ Deer Park Monastery รัฐแคลิฟอร์เนีย ในสหรัฐอเมริกา
และที่วัดบัทหงา เมืองบ๋าวหลอบ และ วัดตื่อฮิ้ว เมืองเว้ ประเทศเวียดนาม
ในปี พ.ศ. 2548 เมื่อสถานการณ์ทางการเมืองของเวียดนามเข้าสู่ภาวะปกติ
ติช นัท ฮันห์ ได้เดินทางกลับไปเยือนประเทศเวียดนาม บ้านเกิดของท่านอย่างเป็นทางการ
หลังการจากมา เป็นเวลา 39 ปี และได้รับการต้อนรับจากประชาชนชาวเวียดนามอย่างอบอุ่น
ปัจจุบันท่าน ติช นัท ฮันห์ ยังคงพำนักอยู่ที่หมู่บ้านพลัม ประเทศฝรั่งเศส
และยังเดินทาง ไปนำการภาวนาในประเทศต่างๆ ท่านเป็นชาวเวียดนาม ที่เป็นพระมหาเถระ ในพุทธศาสนา
และมีอุดมการณ์แห่งพระโพธิสัตว์อันเป็นพระที่เลื่อมใส แห่งสากลโลก เป็นอย่างยิ่ง
ข้อมูลจาก http://www.thaiplumvillage.org/about_plumvillage.html
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.thaiplumvillage.org/index.html
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.thaiplumvillage.org/index.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น